องค์การบริหารส่วนตำบลเรือง

Published: Wednesday, 08 November 2023 07:01
Written by Super User

สภาพทางเศรษกิจ

 

ระบบเศรษฐกิจ

        1.  การเกษตร

     ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกข้าวเหนียวไว้บริโภค ผลิตตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนมกราคมของทุกปี 

     การทำสวนเมี่ยง ซึ่งเป็นพืชตระกูลชาเป็นการปลูกไว้จำหน่ายให้กับพ่อค้าคนกลาง    การขายใบเมี่ยงมี 3 ลักษณะ ประการแรก ขายใบเมี่ยงนึ่งในราคากำมือละประมาณ 4-5 บาท ประการที่สอง ขายใบเมี่ยงที่หมักดองแล้วราคากำมือละประมาณ 5-6 บาท ปีหนึ่งเก็บใบเมี่ยงได้เฉพาะฤดูฝนจำนวน 3-4  ครั้งต่อหนึ่งต้น  และประการสุดท้ายขายยอดเมี่ยง  เพื่อทำชา  กิโลกรัมละ 20 บาท  เป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้กับประชาชนได้เป็นอย่างดี

     การปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นอีก  ข้าวโพด ถั่วเหลือง และงา  นอกจากนั้นยังประกอบอาชีพรับจ้างแรงงานในหมู่บ้าน บางส่วนเดินทางไปขายแรงงานนอกหมู่บ้านหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าว ตั้งแต่เดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี

 

         2.  การประมง 

     ตารางบัญชีรายชื่อผู้เลี้ยงสัตว์น้ำจืด (ด้านการประมง)

หมู่บ้าน

จำนวน (คน)

ร้อยละ

บ้านศรีนาป่าน

7

7.45

บ้านดอนเฟือง

18

19.15

บ้านเรือง

29

30.85

บ้านตาแวน

2

2.13

บ้านนางาม

24

25.53

บ้านนาม่วง

0

0

บ้านสันป่าสัก

14

14.89

บ้านห้วยมอญ

0

0

รวม

94

100

(ที่มา  :  บัญชีรายชื่อผู้เลี้ยงสัตว์น้ำจืด สำนักงานประมงจังหวัดน่าน ข้อมูล ณ 1 ตุลาคม 2559)

 

            3.  การปศุสัตว์ 

     ตารางแสดงจำนวนสัตว์เลี้ยงในตำบลเรือง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน

หมู่ที่ / ชื่อบ้าน

โค

(ตัว)

กระบือ

(ตัว)

สุกร

(ตัว)

เป็ด

(ตัว)

ไก่

 (ตัว)

1  บ้านศรีนาป่าน

6

2

10

5

1,117

2  บ้านดอนเฟือง

-

-

20

11

835

3  บ้านเรือง

29

27

-

18

907

4  บ้านตาแวน

4

4

40

44

2,763

5  บ้านนางาม

33

-

54

104

1,052

6  บ้านนาม่วง

-

-

-

-

614

7  บ้านสันป่าสัก

12

-

-

-

978

8  บ้านห้วยมอญ

-

-

108

45

1,322

รวม

84

33

232

227

9,588

 (ที่มา  :  การขึ้นทะเบียนและทำบัตรประจำตัวเกษตรกร ข้อมูล ณ 1 ตุลาคม 2559)

 

        4. อุตสาหกรรม

          -  จำนวนกิจการอุตสาหกรรมขนาดเล็ก (โรงสีขนาดเล็ก)   จำนวน   8   แห่ง

                            

        5. การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ

          -  กลุ่มจักสานดอกไม้ไผ่ ม.5

          -  กลุ่มเกษตรบ้านสันป่าสัก ม.7

          -  กลุ่มเกษตรก้าวหน้า ม.1

          -  กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านศรีนาป่าน ม.1

          -  กลุ่มผลิตภัณฑ์ชาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ศรีนาป่าน-ตาแวน ม.4

          -  กลุ่มเมี่ยงบ้านดอนเฟือง ม.2

          -  กลุ่มพัฒนาพืชไร่ ม.3

          -  กลุ่มเลี้ยงโคบ้านนาม่วง ม.6

          -  กลุ่มเมี่ยงบ้านเรือง ม.3

          -  กลุ่มพ่อบ้านเกษตรกรบ้านนางาม ม.5

          -  กลุ่มส่งเสริมอาชีพการทำดอกไม้แห้ง ม.3

          -  กลุ่มพืชไร่บ้านนางาม ม.5

          -  กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านนางาม ม.5

          -  กลุ่มเลี้ยงไก่ ม.8

(ที่มา : งานส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจชุมชนสำนักงานปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลเรือง ข้อมูล ณ 1 ต.ค. 59)

 

        6. แรงงาน

     จากตารางแสดงข้อมูลจำนวนประชากรตามช่วงอายุของตำบลเรือง มีประชากรทั้งหมด 4,905 คน เป็นประชากรช่วงแรงงาน (อายุ 15 – 60 ปี) จำนวน  3,369  คน คิดเป็นร้อยละ  69.00  ของประชากรทั้งหมด ในการประกอบอาชีพการเกษตรของเกษตร จะใช้แรงงานในครัวเรือนเป็นหลักในช่วงฤดูกาลที่ต้องใช้แรงงานจำนวนมาก ได้แก่ ฤดูการเพาะปลูก การเก็บเกี่ยว จะมีการลงแขกเป็นหลักและมีการจ้างแรงงานเพิ่มเติมบ้าง ตามขนาดพื้นที่การผลิตของแต่ละครัวเรือน ค่าจ้างแรงงานวันละ 250-300 บาท ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 80 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรมได้แก่  ทำนา ทำสวน ทำไร่  ทำสวนเมี่ยงและข้าวโพด   ที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัวและรับจ้าง

     อาชีพเสริม การทำเมี่ยง การทำชา การทำหน่อไม้ปิ๊บ การเลี้ยงสัตว์ หัตถกรรมเครื่องจักสาน  การทำเครื่องหัตถกรรมผ้าปัก ทำเครื่องเงินชาวเขา การทำดอกไม้ประดิษฐ์

 

เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)

              1. ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน

 หมู่ที่

หมู่บ้าน

ประชากร

ครัวเรือน

พื้นที่ (ไร่)

ชาย (คน)

หญิง (คน)

1

บ้านศรีนาป่าน

252

307

157

720

2

บ้านดอนเฟือง

365

367

246

4,320

3

บ้านเรือง

369

367

238

2,500

4

บ้านตาแวน

530

600

233

1,300

5

บ้านนางาม

282

308

178

4,080

6

บ้านนาม่วง

103

82

54

1,880

7

บ้านสันป่าสัก

140

120

578

1,004

8

บ้านห้วยมอญ

358

382

178

3,500

 รวม

2,399

2,533

1,862

19,304

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)

 

              2. ข้อมูลด้านการเกษตร

     การทำนา

หมู่บ้าน

ในเขตชลประทาน

นอกเขตชลประทาน

จำนวนครัวเรือน

ต้นทุนเฉลี่ย

ราคาขายเฉลี่ย

จำนวนครัวเรือน

ต้นทุนเฉลี่ย

ราคาขายเฉลี่ย

บ้านศรีนาป่าน

0

0

0

157

0

0

บ้านดอนเฟือง

0

0

0

205

2,200

4,500

บ้านเรือง

0

0

0

200

0

0

บ้านตาแวน

158

4,000

0

0

0

0

บ้านนางาม

0

0

0

90

3,000

9,600

บ้านนาม่วง

0

0

0

36

3,500

8,400

บ้านสันป่าสัก

0

0

0

78

3,000

6,000

บ้านห้วยมอญ

0

0

0

22

0

0

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)

 

     การทำไร่

หมู่บ้าน

ข้าวโพด

จำนวนครัวเรือน

ต้นทุนเฉลี่ย

ราคาขายเฉลี่ย

บ้านดอนเฟือง

100

3,000

6,000

บ้านตาแวน

4

3,000

3,000

บ้านนางาม

150

1,520

4,000

บ้านนาม่วง

43

3,400

4,200

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)

               3. ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร

     ตามธรรมชาติ

แหล่งน้ำธรรมชาติ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

แม่น้ำ

0

3

0

2

ห้วย/ลำธาร

0

7

0

7

คลอง

0

0

0

2

หนองน้ำ/บึง

0

2

0

2

น้ำตก

0

0

0

0

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)

 

     ที่มนุษย์สร้าง

แหล่งน้ำธรรมชาติ

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

แก้มลิง

0

0

0

1

อ่างเก็บน้ำ

0

0

0

2

ฝาย

0

5

0

7

สระ

0

5

0

7

คลองชลประทาน

0

0

0

1

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)

 

               4. ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)

แหล่งน้ำกิน

ไม่มี

เพียงพอ

ไม่เพียงพอ

ทั่วถึง

ไม่ทั่วถึง

บ่อบาดาลสาธารณะ

1

2

4

2

1

บ่อน้ำตื้นสาธารณะ

1

2

0

1

0

ประปาหมู่บ้าน(ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

0

0

7

3

3

ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)

1

0

1

0

0

แหล่งน้ำธรรมชาติ

0

2

1

3

2

(ที่มา : ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)